ติดตั้ง Windows Server 2003 เป็น File Server
การติดตั้งเซิร์ฟเวอร์ 2003 เป็นไฟล์เซิร์ฟเวอร์ (File Server)
ไฟล์เซิร์ฟเวอร์ (File Server) นั้น เป็นเซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการแชร์ไฟล์และโฟลเดอร์ โดยใน Windows Server 2003 นั้น ยังสามารถทำการกำหนดปริมาณการใช้งานพื้นที่เก็บข้อมูลของแต่ละยูสเซอร์ได้อีกด้วย โดยการติดตั้งให้ Windows Server 2003 ทำหน้าที่เป็น ไฟล์เซิร์ฟเวอร์ (File Server) นั้นทำได้โดยการเพิ่ม Role ให้กับ Server จากหน้าต่าง Manage Your Server เมื่อเพิ่ม Role เสร็จแล้ว จะมีลิงค์ Add a Share Folder บนหน้าต่าง Manage Your Server เพื่อใช้ในการสร้าง Share Folder
การติดตั้ง Windows Server 2003 เป็น File Server
การติดตั้ง Windows Server 2003 ให้เป็น File Server นั้น ให้ทำการเปิด Manage Your Server โดยการคลิก Start แล้วคลิก Manage Your Server จากนั้นให้ดำเนินการตามขั้นตอนดังนี้
1. ในหน้าต่าง Manage Your Server ให้คลิก ที่ Add or remove a role ซึ่งจะได้ไดอะล็อกบ็อกซ์ Preliminary Steps สำหรับการใช้ทำการเพิ่มหรือลบบริการต่างๆ
2. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Preliminary Steps ให้คลิกปุ่ม Next
3. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard: Server Role ให้คลิกเลือก File Server แล้วคลิกปุ่ม Next
4. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard: File Server Disk Quota จะเป็นการกำหนดโควต้าการใช้งานพื้นที่เก็บข้อมูลของยูสเซอร์ ให้กำหนดค่าตามความต้องการ เสร็จแล้วคลิก Next
คำอธิบายการกำหนดค่า Disk Quota
> Set up default disk quotas for new use for this server เป็นการกำหนดโควต้าการใช้งานพื้นที่เก็บข้อมูลของยูสเซอร์
-Limit Disk Quota = ขนาดพื้นที่เก็บข้อมูลที่ยูสเซอร์สามารถใช้งานได้
-Set warning level to = ระดับกำหนดให้ระบบแจ้งเตือนเมื่อยูสเซอร์ใช้งานเกิน
>Deny disk space to users exceeding disk space limit = เป็นการกำหนดห้ามให้ยูสเซอร์จัดเก็บข้อมูลเมื่อใช้งานเกินโควต้า
5. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard: File Server Indexing Service ซึ่งค่าดีฟอลท์จะปิดบริการ (No, leave Indexing Service turned off) หากต้องการเปิดบริการให้คลิกเลือก Yes, turn the Indexing Service on this server เสร็จแล้วคลิกปุ่ม Next
6. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard: Summary of Selections ตรวจความถูกต้องของการคอนฟิก เสร็จแล้วคลิกปุ่ม Next
7. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard: Applying Selections ให้รอจนระบบทำงานเสร็จแล้วคลิกปุ่ม Next
8. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard: Welcome to the Share a folder wizard ให้คลิกปุ่ม Next
9. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard: Folder Path ให้ใส่ชื่อโฟลเดอร์และพาธที่ต้องการแชร์ในช่อง Folder path แล้วคลิกปุ่ม Next
10. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard: Name, Description, and Settings ให้ใส่ค่าในช่อง Share name และ Description ตามความต้องการเสร็จแล้วคลิกปุ่ม Next
11. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard: Permission ให้คลิกเลือก permission ตามความต้องการ เสร็จแล้วคลิกปุ่ม Finish
12. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard: Sharing was Successful ให้คลิกปุ่ม Close
13. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard: This Server Is Now a File Server ให้คลิกปุ่ม Close และ This Server Is Now a File Server ให้คลิกปุ่ม Finish เพื่อจบการแชร์โฟลเดอร์
การสร้างแชร์โฟลเดอร์เพิ่มบนไฟล์เซิร์ฟเวอร์
หลังจากทำการติดตั้งเครื่องเซิร์ฟเวอร์ให้ทำหน้าที่เป็น File Server เสร็จเรียบร้อยแล้ว หากต้องการสร้างแชร์โฟลเดอร์เพิ่ม ก็สามารถทำได้ตามวิธีการและขั้นตอนดังนี้
1. ทำการเปิด Manage Your Server โดยการคลิก Start แล้วคลิก Manage Your Server
2. ในหน้าต่าง Manage Your Server ให้คลิกที่ Add shared folder จะได้ไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Wizard ซึ่งจะช่วยในการสร้างแชร์โฟลเดอร์ (Add shared folder)
3. ในหน้า Welcome to the Share a folder wizard ให้คลิกปุ่ม Next
4. ในหน้า Folder Path ให้ใส่ชื่อโฟลเดอร์และพาธที่ต้องการแชร์ในช่อง Folder path แล้วคลิกปุ่ม Next
5. ในหน้าต่าง Name, Description, and Settings ให้ใส่ค่าในช่อง Share name และ Description ตามความต้องการเสร็จแล้วคลิกปุ่ม Next
6. ในหน้าต่าง Permission ให้คลิกเลือก permission ตามความต้องการ เสร็จแล้วคลิกปุ่ม Next
7. ในหน้าต่าง Sharing was Successful ให้คลิกปุ่ม Close เพื่อจบการ Share folder
การจัดการไฟล์เซิร์ฟเวอร์ (File Server Management)
การจัดการ File Server นั้น ทำได้โดยการคลิกที่ Manage File Server บนหน้าต่าง Manage Your Server ซึ่งทำการเปิดหน้าต่าง File Server Management สำหรับใช้ในการการจัดการไฟล์เซิร์ฟเวอร์ ซึ่งแอดมินสามารถใช้จัดการในห้านต่างๆ เข่น การสร้างแชร์โฟลเดอร์เพิ่ม (Add a Shared Folder), ทำการสำรองข้อมูลบนเซิร์ฟเวอร์ (Backup File Server), คอนฟิกชาโดวส์ก๊อปปี้ (Configure Shadow Copies), ดูเซสซันการใช้งาน หรือ ดูการเปิดไฟล์ได้ เป็นต้น
การใช้งานไฟล์เซิร์ฟเวอร์จากเครื่องไคลเอนต์คอมพิวเตอร์
การใช้งานไฟล์เซิร์ฟเวอร์จากเครื่องไคลเอนต์คอมพิวเตอร์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายนั้น สามารถทำได้ 3 วิธี ด้วยกัน ดังต่อไปนี้
1. การเข้าใช้งานโดยตรงผ่านทางชื่อแบบ Universal Naming Convention (UNC name) คือ ชื่อเต็มของทรัพยากรบนระบบเครือข่าย ซึ่งจะอยู่ในรูปแบบ \\Server name\sharename เมื่อ Server name คือ ชื่อของเครื่องเซิร์ฟเวอร์ และ sharename คือ ชื่อของทรัพยากรที่แชร์อยูบนเครื่องเซิร์ฟเวอร์บนระบบเครือข่าย มีวิธีการดังนี้
1.1 คลิกที่ Start แล้วคลิก Run
1.2 พิมพ์ชื่อ UNC ของ share folder ที่ต้องการในช่อง Open เสร็จแล้วกด Enter
1.3 วิธีการใช้งานนั้นเหมือนการใช้งานโฟลเดอร์ธรรมดาทุกประการ
2. การเข้าใช้งานโดยวิธีการแม็พไดรฟ์จากระบบเครือข่าย (Map Network Drive) มีวิธีการทำดังนี้
2.1 คลิกที่ Start แล้วคลิก My computer
2.2 ที่เมนูบาร์คลิก Tools แล้วเลือก Map Network Drive
2.3 พิมพ์หรือเลือกชื่อไดรฟ์ที่ต้องการในช่อง Drive:
2.4 พิมพ์ชื่อ UNC ของ share folder ที่ต้องการในช่อง Folder: หรือคลิกบราวส์แล้วเลือก share folder ที่ต้องการแล้วคลิก OK
2.5 เสร็จแล้วคลิก Finish
2.6 ในไดอะล็อกบ็อกซ์ User name and password ใส่ชื่อยูสเซอร์ในช่อง Username และใส่รหัสผ่านในช่อง Password เสร็จแล้วคลิก OK
2.7 วิธีการใช้งานนั้นเหมือนการใช้งานไดรฟ์ Local ทุกประการ
หมายเหตุ
- หากต้องการให้วินโดวส์จำยูสเซอร์เนมและรหัสผ่านโดยอัตโนมัติในการใช้งานครั้งต่อไป ให้เลือกเช็คบ็อกซ์Remember my password
- หากต้องการให้วินโดวส์ใช้ยูสเซอร์เนมและรหัสผ่านโดยอัตโนมัติในการใช้งานครั้งต่อไป ให้เลือกเช็คบ็อกซ์ Don't ask for this password again
3. การใช้คำสั่ง net use แม็พไดรฟ์จากคอมมานด์ไลน์ มีวิธีการทำดังนี้
3.1 เปิดคอมมานด์ไลน์ โดยการคลิก Start คลิก Run พิมพ์ cmd เสร็จแล้วกด Enter
3.2 ในหน้าต่างคอมมานด์พร็อมพ์พิมพ์ [net][space][use][space][X:][space][\\Server name\sharename] เสร็จแล้วกด Enter
หมายเหตุ
1. ไม่ต้องใส่เครื่องหมาย [ ]
2. space = ช่องว่าง
3. X: = ชื่อไดรฟ์ที่ต้องการแม็พ
http://thaiwinadmin.blogspot.com
ไฟล์เซิร์ฟเวอร์ (File Server) นั้น เป็นเซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการแชร์ไฟล์และโฟลเดอร์ โดยใน Windows Server 2003 นั้น ยังสามารถทำการกำหนดปริมาณการใช้งานพื้นที่เก็บข้อมูลของแต่ละยูสเซอร์ได้อีกด้วย โดยการติดตั้งให้ Windows Server 2003 ทำหน้าที่เป็น ไฟล์เซิร์ฟเวอร์ (File Server) นั้นทำได้โดยการเพิ่ม Role ให้กับ Server จากหน้าต่าง Manage Your Server เมื่อเพิ่ม Role เสร็จแล้ว จะมีลิงค์ Add a Share Folder บนหน้าต่าง Manage Your Server เพื่อใช้ในการสร้าง Share Folder
การติดตั้ง Windows Server 2003 เป็น File Server
การติดตั้ง Windows Server 2003 ให้เป็น File Server นั้น ให้ทำการเปิด Manage Your Server โดยการคลิก Start แล้วคลิก Manage Your Server จากนั้นให้ดำเนินการตามขั้นตอนดังนี้
1. ในหน้าต่าง Manage Your Server ให้คลิก ที่ Add or remove a role ซึ่งจะได้ไดอะล็อกบ็อกซ์ Preliminary Steps สำหรับการใช้ทำการเพิ่มหรือลบบริการต่างๆ
2. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Preliminary Steps ให้คลิกปุ่ม Next
3. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard: Server Role ให้คลิกเลือก File Server แล้วคลิกปุ่ม Next
4. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard: File Server Disk Quota จะเป็นการกำหนดโควต้าการใช้งานพื้นที่เก็บข้อมูลของยูสเซอร์ ให้กำหนดค่าตามความต้องการ เสร็จแล้วคลิก Next
คำอธิบายการกำหนดค่า Disk Quota
> Set up default disk quotas for new use for this server เป็นการกำหนดโควต้าการใช้งานพื้นที่เก็บข้อมูลของยูสเซอร์
-Limit Disk Quota = ขนาดพื้นที่เก็บข้อมูลที่ยูสเซอร์สามารถใช้งานได้
-Set warning level to = ระดับกำหนดให้ระบบแจ้งเตือนเมื่อยูสเซอร์ใช้งานเกิน
>Deny disk space to users exceeding disk space limit = เป็นการกำหนดห้ามให้ยูสเซอร์จัดเก็บข้อมูลเมื่อใช้งานเกินโควต้า
5. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard: File Server Indexing Service ซึ่งค่าดีฟอลท์จะปิดบริการ (No, leave Indexing Service turned off) หากต้องการเปิดบริการให้คลิกเลือก Yes, turn the Indexing Service on this server เสร็จแล้วคลิกปุ่ม Next
6. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard: Summary of Selections ตรวจความถูกต้องของการคอนฟิก เสร็จแล้วคลิกปุ่ม Next
7. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard: Applying Selections ให้รอจนระบบทำงานเสร็จแล้วคลิกปุ่ม Next
8. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard: Welcome to the Share a folder wizard ให้คลิกปุ่ม Next
9. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard: Folder Path ให้ใส่ชื่อโฟลเดอร์และพาธที่ต้องการแชร์ในช่อง Folder path แล้วคลิกปุ่ม Next
10. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard: Name, Description, and Settings ให้ใส่ค่าในช่อง Share name และ Description ตามความต้องการเสร็จแล้วคลิกปุ่ม Next
11. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard: Permission ให้คลิกเลือก permission ตามความต้องการ เสร็จแล้วคลิกปุ่ม Finish
12. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard: Sharing was Successful ให้คลิกปุ่ม Close
13. ในหน้าไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Server Wizard: This Server Is Now a File Server ให้คลิกปุ่ม Close และ This Server Is Now a File Server ให้คลิกปุ่ม Finish เพื่อจบการแชร์โฟลเดอร์
การสร้างแชร์โฟลเดอร์เพิ่มบนไฟล์เซิร์ฟเวอร์
หลังจากทำการติดตั้งเครื่องเซิร์ฟเวอร์ให้ทำหน้าที่เป็น File Server เสร็จเรียบร้อยแล้ว หากต้องการสร้างแชร์โฟลเดอร์เพิ่ม ก็สามารถทำได้ตามวิธีการและขั้นตอนดังนี้
1. ทำการเปิด Manage Your Server โดยการคลิก Start แล้วคลิก Manage Your Server
2. ในหน้าต่าง Manage Your Server ให้คลิกที่ Add shared folder จะได้ไดอะล็อกบ็อกซ์ Configure Your Wizard ซึ่งจะช่วยในการสร้างแชร์โฟลเดอร์ (Add shared folder)
3. ในหน้า Welcome to the Share a folder wizard ให้คลิกปุ่ม Next
4. ในหน้า Folder Path ให้ใส่ชื่อโฟลเดอร์และพาธที่ต้องการแชร์ในช่อง Folder path แล้วคลิกปุ่ม Next
5. ในหน้าต่าง Name, Description, and Settings ให้ใส่ค่าในช่อง Share name และ Description ตามความต้องการเสร็จแล้วคลิกปุ่ม Next
6. ในหน้าต่าง Permission ให้คลิกเลือก permission ตามความต้องการ เสร็จแล้วคลิกปุ่ม Next
7. ในหน้าต่าง Sharing was Successful ให้คลิกปุ่ม Close เพื่อจบการ Share folder
การจัดการไฟล์เซิร์ฟเวอร์ (File Server Management)
การจัดการ File Server นั้น ทำได้โดยการคลิกที่ Manage File Server บนหน้าต่าง Manage Your Server ซึ่งทำการเปิดหน้าต่าง File Server Management สำหรับใช้ในการการจัดการไฟล์เซิร์ฟเวอร์ ซึ่งแอดมินสามารถใช้จัดการในห้านต่างๆ เข่น การสร้างแชร์โฟลเดอร์เพิ่ม (Add a Shared Folder), ทำการสำรองข้อมูลบนเซิร์ฟเวอร์ (Backup File Server), คอนฟิกชาโดวส์ก๊อปปี้ (Configure Shadow Copies), ดูเซสซันการใช้งาน หรือ ดูการเปิดไฟล์ได้ เป็นต้น
การใช้งานไฟล์เซิร์ฟเวอร์จากเครื่องไคลเอนต์คอมพิวเตอร์
การใช้งานไฟล์เซิร์ฟเวอร์จากเครื่องไคลเอนต์คอมพิวเตอร์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายนั้น สามารถทำได้ 3 วิธี ด้วยกัน ดังต่อไปนี้
1. การเข้าใช้งานโดยตรงผ่านทางชื่อแบบ Universal Naming Convention (UNC name) คือ ชื่อเต็มของทรัพยากรบนระบบเครือข่าย ซึ่งจะอยู่ในรูปแบบ \\Server name\sharename เมื่อ Server name คือ ชื่อของเครื่องเซิร์ฟเวอร์ และ sharename คือ ชื่อของทรัพยากรที่แชร์อยูบนเครื่องเซิร์ฟเวอร์บนระบบเครือข่าย มีวิธีการดังนี้
1.1 คลิกที่ Start แล้วคลิก Run
1.2 พิมพ์ชื่อ UNC ของ share folder ที่ต้องการในช่อง Open เสร็จแล้วกด Enter
1.3 วิธีการใช้งานนั้นเหมือนการใช้งานโฟลเดอร์ธรรมดาทุกประการ
2. การเข้าใช้งานโดยวิธีการแม็พไดรฟ์จากระบบเครือข่าย (Map Network Drive) มีวิธีการทำดังนี้
2.1 คลิกที่ Start แล้วคลิก My computer
2.2 ที่เมนูบาร์คลิก Tools แล้วเลือก Map Network Drive
2.3 พิมพ์หรือเลือกชื่อไดรฟ์ที่ต้องการในช่อง Drive:
2.4 พิมพ์ชื่อ UNC ของ share folder ที่ต้องการในช่อง Folder: หรือคลิกบราวส์แล้วเลือก share folder ที่ต้องการแล้วคลิก OK
2.5 เสร็จแล้วคลิก Finish
2.6 ในไดอะล็อกบ็อกซ์ User name and password ใส่ชื่อยูสเซอร์ในช่อง Username และใส่รหัสผ่านในช่อง Password เสร็จแล้วคลิก OK
2.7 วิธีการใช้งานนั้นเหมือนการใช้งานไดรฟ์ Local ทุกประการ
หมายเหตุ
- หากต้องการให้วินโดวส์จำยูสเซอร์เนมและรหัสผ่านโดยอัตโนมัติในการใช้งานครั้งต่อไป ให้เลือกเช็คบ็อกซ์Remember my password
- หากต้องการให้วินโดวส์ใช้ยูสเซอร์เนมและรหัสผ่านโดยอัตโนมัติในการใช้งานครั้งต่อไป ให้เลือกเช็คบ็อกซ์ Don't ask for this password again
3. การใช้คำสั่ง net use แม็พไดรฟ์จากคอมมานด์ไลน์ มีวิธีการทำดังนี้
3.1 เปิดคอมมานด์ไลน์ โดยการคลิก Start คลิก Run พิมพ์ cmd เสร็จแล้วกด Enter
3.2 ในหน้าต่างคอมมานด์พร็อมพ์พิมพ์ [net][space][use][space][X:][space][\\Server name\sharename] เสร็จแล้วกด Enter
หมายเหตุ
1. ไม่ต้องใส่เครื่องหมาย [ ]
2. space = ช่องว่าง
3. X: = ชื่อไดรฟ์ที่ต้องการแม็พ
http://thaiwinadmin.blogspot.com
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น